Description
Culinary
Leaves and young seedlings can be eaten raw or cooked. They can also be used in salads and soups after removal of the bitterness.
Japan
In Japan it is called yomogi (蓬) and the leaves are sometimes blanched and added to soups or rice. Its leaves, along with those of hahakogusa, are a fundamental ingredient in kusa mochi (literally “grass cake”), a Japanese confectionery, to which it imparts its fresh, springlike fragrance and vivid green coloring.
The young leaves can be lightly boiled before being pounded and added to glutinous rice dumplings known as mochi to which they give a pleasant colour, aroma and flavour.Mugwort mochi can be found in many North American health food stores.
Japanese mugwort is used to make a tea called yomogi-cha (“mugwort tea.”) It is said to have detox effects and help with healthy pregnancy. It is often served when serving hittsumi noodles
Korea
Mugwort, referred to as ssuk (쑥) in Korean, is widely used in Korean cuisine as well as in traditional medicine (hanyak 한약 韓藥). In spring, which is the harvesting season, the young leaves of mugwort are used to prepare savory dishes such as jeon (Korean-style pancakes), ssuk kimchi, (쑥김치), ssukguk (쑥국, soup made with ssuk). Most commonly, however, fresh mugwort as well as dried leaves ground into powder are a characteristic ingredient in various types of tteok (떡, Korean rice cakes). Today, ssuk also adds flavor and color to more contemporary desserts and beverages, e.g. ice cream, breads, cakes, mugwort tea (ssukcha 쑥차) and ssuk latte (쑥라떼).
ปรับสมดุลในร่างกาย จิงจูฉ่ายเป็นที่นิยมของชาวจีน เพราะมีคุณสมบัติเป็นหยินมีฤทธิ์เย็น หากกินช่วงหน้าหนาวจะช่วยปรับสมดุลให้ร่างกาย แก้พิษไข้ ลดอาการร้อนใน ช่วยบำรุงปอด และฟอกเลือด
ช่วยเรื่องความดัน น้ำมันหอมระเหยในลำต้นและใบของจิงจูฉ่าย มีสารไลโมนีน ซิลนีน และสารไกลโคไซด์ ช่วยปรับสมดุลความดันเลือด ทำให้เส้นเลือดขยายตัวและเลือดไหลเวียนได้สะดวก
เป็นตัวช่วยของคนช่างกิน ช่วยในเรื่องของการขับลมในลำไส้และกระเพาะอาหาร ลดอาการจุกเสียดแน่นเฟ้อเพราะอาหารไม่ย่อยจากมื้ออาหารแบบจัดหนักได้
ต้านมะเร็งร้าย มีการวิจัยที่นำใบจิงจูฉ่าย 1 กำมือ มาปั่นหรือตำคั้นน้ำดื่มเช้า-เย็น ก่อนมื้ออาหาร ติดต่อกันเป็น 2-3 เดือน ซึ่งผลคือ สามารถช่วยต้านทานต่อเซลล์มะเร็งได้ แต่ก็ต้องดูแลสุขภาพ ออกกำลังกาย และเลือกกินอาหารที่ดีด้วย
กินสดลดโรค จิงจูฉ่าย 100 ก. ให้พลังงานถึง 392 กิโลแคลอรี มีเส้นใยและคุณค่าสารอาหารสูง โดยเฉพาะแคลเซียมและวิตามินซี แต่จะให้ได้คุณค่าสูงสุดก็ต้องกินสดๆ ไม่ว่าจะกินเป็นผักเคียงกับเมนูลาบ สาคู จิ้มน้ำพริก หรือจะกินแบบน้ำผักคั้นสดๆ ผสมน้ำผึ้งนิด น้ำมะนาวหน่อยก็ได้
ปรุงคาวก็ได้ ปรุงหวานก็ดี สมุนไพรชนิดนี้ใช้ทำอาหารได้สารพัด ตั้งแต่ต้มจืด ผัดผัก แกงเผ็ด ทอดกรอบ หรือใส่ยำแซบๆ ทั้งยังพลิกแพลงใส่ในขนมอบ เช่น คุกกี้ หรือขนมปัง เพิ่มความหอมและคุณค่าทางอาหาร หรือเบลนด์ในเครื่องดื่มร้อนๆ เป็นชาจิงจูฉ่าย
สรรพคุณทางยาอื่นๆ ว่ากันว่าจิงจูฉ่ายมีสรรพคุณช่วยขับพิษ แก้อาการอักเสบของผิวหนัง ลดผดผื่นคัน มีโซเดียมต่ำ เหมาะกับผู้ที่เป็นโรคไต และยังช่วยในการฆ่าไวรัส เพิ่มประสิทธิภาพในการรักษาโรคมาลาเรีย
แต่งบ้านสวย ปลูกขายรวย จิงจูฉ่ายเป็นไม้ล้มลุกที่เลี้ยงง่าย ทรงพุ่มสวย ใบหยักสีเขียวเข้มชวนมอง ปลูกเป็นไม้คลุมดินตกแต่งบ้านก็ได้ ปลูกไว้กินเป็นสมุนไพรก็ดี ขณะเดียวกัน ยังเป็นพืชเศรษฐกิจที่ปลูกขายได้กำไรงาม นับเป็นพืชสารพัดประโยชน์จริงๆ
Reviews
There are no reviews yet.